วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2559




แปลสรุปหนังสือเล่มที่1 (The Principles of Typography พื้นฐานการใช้ตัวอักษร)
ผู้แต่ง: จุติพงศ์ ภูสุมาศ.  (2557).  The Principles of Typography พื้นฐานการใช้ตัวอักษร.  นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.



ความหมายของงานตัวอักษร

             ความหมายของงานอักษรตามนิยามนั้นหมายถึง “สัญลักษณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสารจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง” ส่วนไทโปกราฟี (Typography) จะหมายถึง ตัวพิมพ์ การจัดเรียงการพิมพ์โดยที่จะมีการใช้ศิลปะในการพิมพ์เข้ามา
เกี่ยวข้องด้วย
     ดังนั้นในความหมายของงานอักษรตามหนังสือคือการใช้ศิลปะในการจัดเรียงตัวอักษรให้มีความสวยงาม น่าสนใจและยังคงมีความหมายที่ต้องการจะสื่ออย่างครบถ้วน


วิวัฒนาการของตัวอักษร
             จุดเริ่มต้นของงานอักษรมีมาแต่โบราณ เริ่มตั้งแต่การคิดค้นตัวอักษรภาพของชาวอียิปต์โบราณ ที่มีชื่อเรียกว่า อักษรไฮโรกลิฟฟิก (Hieroglyphy) ลักษณะเด่งของตัวอักษรในยุคนั้นคือ การใช้ภาพหรือสัญลักษณ์แทนความหมายต่างๆซึ่งผู้เขียนและผู้อ่านต้องจดจำตัวอักษรแต่ละรูปแบบ จึงเกิดปัญหาเมื่อมีจำนวนคำเพิ่มมากขึ้นเพราะจำนวนตัวอักษรก็ต้องเพิ่มขึ้นตาม
จำนวนคำไปด้วย เพื่อแก้ไขปัญหา เลยเกิดการผสมสัญลักษณ์เพื่อสร้างคำใหม่ขึ้นมา เช่น รูปสามเหลี่ยมคว่ำมีขีดด้านบน หมายถึง วัว (สามเหลี่ยมเป็นโครงหน้าวัวขีดด้านบนหมายถึง เขาวัว)  
ส่วนเส้นซิกแซ็กไปมา หมายถึง ภูเขา
เมื่อนำมารวมกันจะได้ความหมายใหม่ว่าวัวป่านั่นเอง
สำหรับวิวัฒนาการของตัวอักษรไทยมีจุดเริ่มต้นที่เป็นหลัก
ฐานชัดเจนคือ หลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหา-
ราช ที่ทรงประดิษฐ์ลายสือไทย พ.ศ. 1826 และมีการพัฒนาตามกาลเวลา จนปรากฏเป็นตัวอักษรไทยในปัจจุบัน
ฟอนต์คืออะไร
            จุดกำเนิดของฟอนต์นั้นเริ่มมาจากสิ่งสำคัญที่เรียกว่า ตัวอักษร
เป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณและถือว่าเป็นเอกลักษณ์ประการหนึ่งของชาติที่ควรจะรักษา
ไว้ โดยแต่ก่อนนั้นการผลิตสื่อที่ต้องมีการเรียงกันของกลุ่มตัวอักษร เช่น หนังสือ หรือใบประกาศต้องอาศัยแรงงานคนในการเขียน ส่งผลให้ตัวอักษรตัวเดียวกันแต่คนละ
คนเขียน หรือแม้แต่เป็นคนเดิมเขียนก็ตาม มักจะให้ลักษณะของตัวอักษรที่แตกต่างกัน ทำให้มาตราฐานที่ได้ไม่เท่ากัน ด้วยเหตุที่ต้องการสร้างมาตราฐานนี้เอง
ฟอนต์จึงถูกสร้างขึ้นและได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาจนเราสามารถนำมาใช้กันได้อย่างง่ายดาย ด้วยการเคาะแป้นพิมพ์บนคัย์บอร์ดนี่เอง
หากสรุปนิยามของฟอนต์อย่างกระชับที่สุด สามารถกล่าวได้ว่า ฟอนต์คือ กลุ่มของตัวอักษรที่พิมพ์ได้ หรือแสดงผลได้ตามแบบที่กำหนดและขนาดที่ต้องการนั่นเอง

มูลค่าและลิขสิทธิ์ของฟอนต์
           มูลค่าและลิขสิทธิ์ของฟอนต์เป็นเรื่องมีประเด็นปัญหาระหว่างผู้ใช้ฟอนต์กับผู้สร้างสรรค์ฟอนต์มากที่สุด เพราะความเข้าใจผิดๆหลายอย่าง ทำให้ผู้หลงใช้ฟอนต์แบบผิดลิขสิทธิ์โดยที่บางครั้งอาจไม่
ได้ตั้งใจ หลายคนมีความเข้าใจว่า ตัวอักษรเป็นสมบัติของชาติที่คนไทยทุกคนล้วนเป็นเจ้าของ ดังนั้น ฟอนต์จึงเป็นสมบัติของชาติที่ทุกคนล้วนเป็นเจ้าของเช่นเดียวกัน สามารถนำมาใช้ได้โดยไม่ผิดลิขสิทธิ์ความเข้าใจนี้ถูกต้องเฉพาะในส่วนที่ว่าตัวอักษรไทยเป็นสมบัติของชาติที่ทุกคนล้วนเป็นเจ้าของ แต่ฟอนต์ไม่ใช่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงอย่าเดียวยังประกอบไปด้วยการออกแบบ ลักษณะ การเว้นระยะ และชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ต่างๆมากมาย เพื่อให้ฟอนต์ที่ออกมา
สามารถนำมาใช้งานได้และสวยงาม ซึ่งขั้นตอนต่างๆเหล่านี้ต้องอาศัยเวลา รวมทั้งความสามารถของผู้สร้างสรรค์เป็นอย่างมาก ดังนั้น ฟอนต์จึงเป็นสิ่งมีลิขสิทธิ์ และเราควรตระหนักถึงความสำคัญของลิขสิทธิ์เหล่านี้ เพื่อให้ผู้สร้างสรรค์มีกำลังใจและทุนทรัพย์ในการพัฒนาฟอนต์ใหม่ๆต่อไป
แปลหนังสือเล่มที่2 (ออกแบบประดิษฐ์อักษร ไทย-อังกฤษ) 
ผู้แต่ง: วัชรพงศ์ หงษ์สุวรรณ. (2550). ออกแบบประดิษฐ์อักษร ไทย-อังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: วาดศิลป์ จำกัด.


การออกแบบตัวอักษร (Lettering)
ตัวอักษร (Lettering) คืออะไร ตัวอักษรเป็นอักรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน จากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง สะท้อถึงอารมณ์ เหตุผล ความคิด ความต้องการ ความรู้สึก และตัวอักษรยังสามารถบันทึกรวบรวมความรู้สึกต่างๆ ไว้ได้เป็นระยะเวลายาวนาน

อักษรประดิษฐ์ (Lettering) คืออะไร
อักษรประดิษฐ์ คือ ตัวหนังสือที่สร้าจัดทำขึ้นจากจินตนาการโดยคงลักษณะจากอักษรเดิมไว้ หรืออาจจะดัด
แปลงแต่งเติมลวดลายความวิจิตรบรรจงเพื่อให้เกิดความสวยงาม
หรือสอดคล้องกับเรื่องราวนั้นๆ

ตัวอักษรที่ใช้ในงานพิมพ์
     เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าตัวเรียง ตัวเรียงมี2แบบ คือ
1.ตัวเรียงพิมพ์แบบร้อน (Hot type composition) เป็นการเรียงพิมพ์โดยใช้ตัวเรียงที่ทำด้วยโลหะตะกั่วลักษณะเป็นตัวนูนกลับด้านมีพยัญชนะ
เป็นแต่ละตัวตั้งแต่ ก-ฮ สระทุกตัว ตัวเลข1-10 และเครื่องหมายพิเศษ สัญลักษณ์ต่างๆ การเรียงข้อความจะหยิบตัวอักษรทีละตัววางเรียงบนแป้นไม้ตัวเรียงจะแยกกันอยู่ในกระบะตามชนิด ตามแบบและขนาด สามารถนำไปใช้ได้หลายครั้งเมื่อชำรุดหักหรือบิ่นสามารถหล่อ
ขึ้นใหม่ได้ เป็นตัวพิมพ์ที่นำมาใช้ในการพิมพ์ระบบแลตเตอร์เพรส หรือที่เรียกกันว่า บล๊อค
2.ตัวเรียงพิมพ์แบบเย็น (Cold type composition) เป็นการสร้างตัวพิมพ์โดยใช้การอัดตัวหนังสือลงบนแผ่นกระดาษอักรูป ผ่านเครื่องถ่ายฟิล์ม และน้ำยาสร้างภาพ โดยทั่วไปจะเรียกว่า โบร์ไมท์ ใช้ได้ครั้งเดียว เป็นตัวที่นำมาใช้การจัดหนังสือ หรือทำอาร์ตเวิรคงานโฆษณาต่างๆ เป็นต้น ฉบับของงานสิ่งพิมพ์ระบบออฟเซทและบล๊อค
วิธีการออกแบบตัวอักษร
     การออกแบบเป็นการเสนอความคิด จินตนาการ การสร้างสรรค์ให้เกิดสิ่งใหม่ หรือทำให้เกิดสิ่งนั้นเป็นรูปธรรม การออกแบบอักษรมุ่งเน้นถึงประโยชน์การใช้ให้ตรง
จุดประสงค์ การสร้างสรรค์ลักษณะตัวอักษรที่แตกต่างกันออกไปเพื่อสนองจุดมุ่งหมายของงานนั้น
โครงสร้างตัวอักษรภาษาไทย
1.เส้นราบประกอบด้วย
1.1เส้นสูงสุด (Capital Letter)
1.2เส้นบน  (Mean Line)
1.3เส้นฐาน (Bass Line)
1.4ระดับลากลง (Descender)
2.เส้นฉากหน้า
3.เส้นฉากหลัง
4.ช่องไฟในตัว
5.ช่องไฟระหว่างตัว
6.ความกว้างตัวอักษร

โครงสร้างประกอบ
     1.ระดับวรรณยุกต์
     2.ระดับสระบน
     3.ระดับพยัญชนะ
     4.ระดับสระล่าง
     5.ความสูงตัวอักษร

รูปลักษณ์ของตัวอักษร
     รูปลักษณ์ของตัวอักษร หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “รูปอักษร” (Glyph) หมายถึง รูปแบบที่ชัดเจนสอดคล้องลงตัวกันทั้งพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ล้วนแล้วแต่มีรูปแบบที่แตกต่างกัน ดังนี้
1.รูปแบบตัวอักษรตรง คือ ตัวอักษรที่มีแนวเส้นหลักเป็นเส้นดิ่งหรือเส้นฉาก
2.รูปแบบตัวอักษรเอน คือ ตัวอักษรที่มีแนวเส้นหลักเป็นเส้นเอนหรือเส้นเฉียง
3.รูปแบบอักษรอิสระ คือ ตัวอักษรที่ไม่จำกัดลักษณะแนวบรรทัดและทิศทางตัว
อักษรไม่แน่นอน
4.รูปแบบอักษรเงา หรือ แบบทัศนียภาพ (Perspective) คือ ตัวอักษรที่สามารถมองเห็นความลึกของตัวอักษรได้ หรือด้วยการลวงทาสายตาด้วย เส้นนำสายตาที่ขนานกันไปสุดเส้นขอบฟ้าจนถึงจุดอันตรธาน
เทคนิคการประดิษฐ์อักษร
การออกแบบหรือสร้างแบบตัวอักษรหรือการเลือกแบบตัวอักษรในแต่ละครั้ง ต้องพิจราณาถึงวัตถุประสงค์ในการใช้งานนั้นๆ ซึ้งจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ตัวอักษรที่เป็นข้อความย่อยจะมีลักษณะอย่างหนึ่ง ตัวอักษรที่เป็นหัวข้อ หัวเรื่อง ชื่อสินค้า แผ่นป้าย โฆษณา รวมไปถึงสัญลักษณ์ต่างๆก็จะมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันไป ดังนั้น เทคนิค กรรมวิธีการออกแบบตัวอักษร
จึงมีความหลากหลายมีการดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่
เหมาะสมกับเนื้อเรื่องที่จะนำมาใช้งาน คือ
1. การออกแบบตัวอักษรบนแนวระนาบตรง
2. การออกแบบตัวอักษรแนวระนาบโค้ง
3. การออกแบบตัวอักษรบนพื้นที่จำกัด
4. การออกแบบตัวอักษรเงา
5. การออกแบบตัวอักษรแบบจุดรวมสายตา
6. การออกแบบตัวอักษรแบบอิสระ
7. การแต่งตัวอักษร
แปลหนังสือเล่มที่3 (ออกแบบอักษร)
ผู้แต่ง: ศาศวัต เกตุม.  (2536).  ออกแบบอักษร.  กรุงเทพมหานคร: อาร์ต ไดเรคโทริ พับลิเคฌัน.



สัดส่วนตัวอักษร
สัดส่วน (Proportion) ขอบตัวอักษรภาษาไทย ประกอบด้วยส่วนกว้าง อันได้แก่ ส่วนที่เป็นเส้นนอน และส่วนสูงได้แก่ส่วนที่เป็นเส้นตั้งการกำหนดสัดส่วนของตัวอักษรคงจะต้องยึดถือเอา“ตัวพิมพ์”เป็นมาตรฐานเพราะว่าตัวพิมพ์เป็นแบบตัวอักษรที่แพร่หลายและคุ้นเคยต่อการอ่านมากที่สุด สัดส่วนของตัวอักษรมีประโยชน์ในการออก
แบบอักษรโดยเฉพาะ ในเนื้อที่จำกัดสามารถจัดแบ่งเนื้อ
ที่ให้พอเหมาะกับประโยคหรือข้อความที่จะต้องออกแบบ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่า จะต้องกำหนดเป็นสัดส่วนตาย
ตัว สามารถยืด ขยาย หรือลดได้ตามความพอใจ เพียงแต่ใช้เป็นแนวทางคร่าวๆเท่านั้น

เส้นกับตัวอักษร
     เมื่อนำเส้นลักษณะต่างๆมาใช้ในการออกแบบตัวอักษร จะมีผลต่อเนื่อง ทำให้เกิดความรู้สึกต่อตัวอักษรที่ออกแบบหรือเขียนขึ้นด้วย เส้นที่นำมาใช้กับตัวอักษร ลักษณะและขนาดที่แตกต่าง เป็นผลเนื่องมาจาก “เครื่องมอ” ที่ใช้ในการเขียน เครื่องมือแต่ละชนิด ทำให้เกิดเส้นที่มีลักษณะและขนาดที่ไม่เหมือนกัน
         เส้นที่นำมาเขียนเป็นตัวอักษร นอกจากจะทำให้เกิดรูปลักษณะแล้ว ยังทำให้เกิดเป็น“รูปแบบ”ตัวอักษรอีกด้วยดังนี้
     1.ตัวเส้นเรียบ เป็นอักษรที่มีเส้นขนาดเท่ากันตลอด แต่ขนาดของเส้นจะหนาบางตามแต่เครื่องมือที่ใช้เขียน ยังมีชื่อเรียกตัวอักษรแบบนี้อีกเช่น ตัวจาร ตัวธรรมดา ตัวเรียบ เป็นต้น
     2.ตัวเส้นวาดเขียน (Script) เป็นตัวอักษรที่มีเส้นหนักเส้นเบา หรือมีเส้นหนาเส้นบาง เกิดจากการเขียนด้วยปากกาหรือปากกาปากสักหลาดปลายตัด บางที่เรียกว่า ตัวลายมือ
3.ตัวเส้นอิสระ เป็นตัวอักษรที่มีเส้นไม่แน่นอน อาจเป็นเส้นหยัก เส้นเป็นลวดลาย ตัวอักษรแบบนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวประดิษฐ์
หลักการออกแบบ
     หลักการออกแบบ (Design) เป็นหลักเกณฑ์ทางศิลป เพื่อก่อให้เกิดความงาม มีหลักที่ต้องคำนึงถึงดังนี้ คือ
     1. เอกภาพ (Unity)
     2. ความกลมกลืน (Harmony)
     3. สัดส่วน (Proportion)
     4. ความสมดุลย์ (Balance)
     5. ช่วงจังหวะ (Rhythm)
     6. จุดเด่น (Emphasis)

เอกภาพ คือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ในรูปแบบตัวอักษรที่ออกแบบขึ้น มีความสอดคล้องต้องกันโดยตลอด ทั้งสระ พยัญชนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเขียนเป็นข้อความ หรือเป็นประโยค
สัดส่วน คือ ความเหมาะสมในการกำหนด ขนาดตัวอักษร ความกว้างและความสูงของตัวอักษร และรวมไปถึงว่าถ้าเขียนขึ้นเป็นข้อความด้วย
ความสมดุลย์ คือ ความเท่าเทียมกันในรูปลักษณะของโครงสร้างตัวอักษร อาจเท่ากันโดยแบ่งแกนกลาง หรือคาดคะเนมีความรู้สึกได้ว่าเท่ากัน
ช่วงจังหวะ คือ ช่วงจังหวะลีลาของเส้นที่ประกอบกันเป็นตัวอักษร อาจซ้ำๆกัน สลับกัน มีทิศทางพุ่งขึ้นหรือลากลงแสดงให้เห็นเป็นจังหวะลีลาต่อเนื่อง
จุดเด่น คือ การเน้นตัวอักษรให้ดึงดูดความสนใจ สดุดตา ไม่ซ้ำซากจำเจ จะเป็นรูปแบบ ขนาด สัดส่วน ลักษณะเส้น หรือ ลวดลายที่นำมาประกอบตกแต่งก็ตาม
แปลหนังสือเล่มที่4 (An Introduction to Typography)
ผู้แต่ง: Terry Michael Beaumont.  (1990).  An Introduction to Typography.  English: Apple Press.

HUNG PUNCTUATION
      When body copy is set justified and the punctuation falls at the end of a line the optical effect is a ragged, untidy finish. This can be overcome byincreasing
the measure of that line by the eidth of the actual punctuaion, and hanging that punctuation outside the line of the column. This may technically create a longer
ine but optically it has the effect of lining the type up in a straight right hand line. This fine detail is not frequently used when producing a large quantity of body copy as is implementation does mean extra key strokes, Slowing down the typesetter and raising the overall cost. However for small quantities it should be used when possible as it improves the final visual effect considerably. (Automatic hung punctaution is now possible with the latest programs.) Hung punctuation can also be used for quotation marks at the beginning of lines which precede the first word.
VISUAL ALIGNMENT
Hanging can be used for letterforms as well as punctuation. It is used in headlines, particularly when they are set in caps. The following headline tells its own story:
When such problems occur they can nowadays be compensated for optically at the keyboard but it may be easier to balance the lines visually, using a scalpel. The letter T is probably the most difficult character to deal with optically. No matter where it is placed it always seems to look wrong. 
Il becomes very much a case of compromise, and may even need a little surgery, reducing the width of the arm of the T. This also applies to other character combinations, LA, for example.
AMPERSAND
The ampersand, an abbreviation for the word’ and’, is one of the most beautiful shapes in typography. It should be taken full advantage of wherever and wherever possible. Whilst it is not suitable for use in body copy it has tremendous possibleilities in headlines, and particularly in packging and display.
แปลโดยตรงจาก (google translate)
แขวนเครื่องหมายวรรคตอน เมื่อร่างกายสำเนาถูกตั้งค่าเป็นธรรมและเครื่องหมายวรรคตอนที่ตกในตอนท้ายของบรรทัดผลแสงเป็นมอมแมมเสร็จรก นี้สามารถเอาชนะโดยการเพิ่มตัวชี้วัดของบรรทัดนั้นโดย eidth ของเครื่องหมายวรรคตอนที่เกิดขึ้นจริงและเครื่องหมายวรรคตอนที่แขวนอยู่นอกเส้นของคอลัมน์ ซึ่งในทางเทคนิคอาจสร้างอีกต่อไปครับ แต่สายตามันมีผลกระทบจากการขึ้นซับชนิดเป็นเส้นขวามือตรง ซึ่งรายละเอียดไม่ได้ใช้บ่อยครั้งเมื่อการผลิตเป็นจำนวนมากของการคัดลอกร่างกายคือการดำเนินการไม่ได้หมายความว่าจังหวะสำคัญพิเศษชะลอตัวลงเรียงพิมพ์และเพิ่มต้นทุนโดยรวม อย่างไรก็ตามสำหรับปริมาณขนาดเล็กก็ควรจะใช้เมื่อเป็นไปได้จะช่วยเพิ่มผลภาพสุดท้ายมาก (Automatic punctaution แขวนอยู่ในขณะนี้เป็นไปได้ด้วยโปรแกรมใหม่ล่าสุด.) เครื่องหมายวรรคตอนฮุงนอกจากนี้ยังสามารถนำมาใช้สำหรับเครื่องหมายคำพูดที่จุดเริ่มต้นของเส้นที่นำหน้าคำแรก
VISUAL AL​​IGNMENT
แขวนสามารถใช้สำหรับการ letterforms เช่นเดียวกับเครื่องหมายวรรคตอน มันถูกใช้ในพาดหัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพวกเขาจะตั้งอยู่ในแคป พาดหัวต่อไปนี้บอกเล่าเรื่องราวของตัวเอง: เมื่อมีปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นในปัจจุบันที่พวกเขา
สามารถได้รับการชดเชยแสงที่แป้นพิมพ์แต่มันอาจจะง่ายขึ้นเพื่อความสมดุลของเส้นสายตาโดยใช้มีดผ่าตัด ตัวอักษร T อาจจะเป็นตัวละครที่ยากที่สุดในการจัดการกับสายตา ไม่ว่าที่มันถูกวางไว้มันก็ดูเหมือนว่าจะมีลักษณะที่ไม่ถูกต้อง Il กลายเป็นอย่างมากกรณีของการประนีประนอมและอาจจำเป็นต้องมีการผ่าตัดเล็ก ๆ น้
อย ๆ การลดความกว้างของแขนข้างหนึ่งของตนี้ยังใช้กับการรวมกันของตัวละครอื่น ๆ , LA, ตัวอย่างเช่น
เครื่องหมาย
เครื่องหมาย, คำย่อของคำว่า 'และ' การเป็นหนึ่งในรูปทรงที่สวยที่สุดในการพิมพ์ มันควรจะได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากทุกที่และทุกที่ที่เป็นไปได้ ในขณะที่มันไม่เหมาะสำหรับการใช้งานในร่างกายคัดลอกมี possibleilities อย่างมากในการพาดหัวและโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน packging และการแสดงผล
เรียบเรียงใหม่ให้อ่านรู้เรื่อง ได้ใจความสมบูรณ์ โดยเพิ่มเติมสำนวนหรือข้อความที่รู้เห็นและเข้าใจด้วยตัวเองเป็นสำนวนใหม่ให้น่าอ่านและเข้าใจ แต่ไม่ทิ้งประเด็นเดิมของเรื่องเดิม

เมื่อเนื้อหาได้ถูกตั้งค่าจัดบรรทัด ถ้าหากใช้เครื่องหมายนั้นตก จะมีผลให้เนื้อหานั้น ถูกจัดไม่เป็นระเบียบ และหากเครื่องหมายนั้นออกนอกเส้นคอลัม สามารถใช้ the eight ซึ่งเป็นเครื่องหมายวรรคตอน เทคนิคนี้จะใช้กับเนื้อความที่ยาวซึ่งปรากฎให้เห็นอยู่ตรงบนบรรทัดด้านขวามือ จะพบไม่บ่อย แต่จะถูกใช้เมื่อมีเนื้อความที่มีปริมาณมากๆ. ส่วนเครื่องหมายคำพูด ที่แสดงแบบอัตโนมัติจะอยู่ในโปรแกรมขนาดใหญ่แล้วยังใช้เป็นเครื่องหมายอ้างอิง ตั้งแต่เริ่มบรรทัดซึ่งอยู่หน้าคำแรก คือ เครื่องหมาย (“...”) นั่นเอง

แปลหนังสือเล่มที่5 (Calligraphy Modern Masters – Art, Inspiration &Technique)
ผู้แต่ง:  David Harris.  (1991).  Calligraphy Modern Masters – Art, Inspiration &Technique.  English: Crescent.

Calligraphy
Calligraphy featurus work by internationally acknowledged masters such as Charles Pearce form the United States of America, the Royal Calligrapher Donald Jackson from Britain, Jean Larcher from France and Leonid Pronenko from the USSR.
Calligraphy Calligraphy is both an inspirational source book and a practical master class of modern techniques, serving as a celebration of innovative genius and a working model for aspiring calligraphers of all abilities.
Abstract Calligraphy 1970
Freely written with a goose quill in black watercolour. This work is consideres to be central to this thesis in the sense that it represents a breaking point and possible start for the future of calligraphy. Indeed, this is one of the first times we completely see abstract calligraphy.
'This piece has to be interpreted only as sings and forms, which is the real putpose of  calligraphy. Only handwriting necessarily needs legibility.'
แปลโดยตรงจาก (google translate)
การเขียนพู่กันมีการทำงานโดยได้รับการยอมรับในระดับสากลโทเช่นชาร์ลส์เพียร์ซในรูปแบบของสหรัฐอเมริกา, Royal Calligrapher โดนัลด์แจ็คสันจากสหราชอาณาจักร, ฌอง Larcher จากประเทศฝรั่งเศสและ Leonid Pronenko จากสหภาพโซเวียต
การเขียนพู่กันเป็นทั้งแหล่งหนังสือสร้างแรงบันดาลใจและเจ้านายชั้นสูงในทางปฏิบัติของเทคนิคที่ทันสมัยให้บริการเป็นการเฉลิมฉลองของอัจฉริยะนวัตกรรมและรูปแบบการทำงานสำหรับนักประดิษฐ์อักษรของความสามารถทั้งหมด
การเขียนพู่กันบทคัดย่อ 1970
เขียนได้อย่างอิสระด้วยขนนกห่านในสีน้ำสีดำ งานนี้ถือเป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้งานวิจัยนี้ในแง่ที่ว่ามันหมายถึงจุดแตกหักและจุดเริ่มต้นที่เป็นไปได้สำหรับอนาคตของการประดิษฐ์ตัวอักษร อันที่จริงนี้เป็นหนึ่งในครั้งแรกที่เราเห็นอย่างสมบูรณ์การประดิษฐ์ตัวอักษรที่เป็นนามธรรม
'งานชิ้นนี้จะต้องมีการตีความว่าเป็นเพียงการร้องเพลงและรูปแบบซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการประดิษฐ์ตัวอักษร เขียนด้วยลายมือเท่านั้นที่จำเป็นต้องตอบสนองความต้องการความชัดเจน.
เรียบเรียงใหม่ให้อ่านรู้เรื่อง ได้ใจความสมบูรณ์ โดยเพิ่มเติมสำนวนหรือข้อความที่รู้เห็นและเข้าใจด้วยตัวเองเป็นสำนวนใหม่ให้น่าอ่านและเข้าใจ แต่ไม่ทิ้งประเด็นเดิมของเรื่องเดิม

นักอักษรวิจิตรหลวง Donald Jackson จากอังกฤษ , Jean Larcher จากฝรั่งเศษ และ Leonid Pronenko จากสหภาพโซเวต งานอักษรวิจิตร งานอักษรวิจีตร
มีความหมายอยู่2อย่างคือ
หนังสือหรือแหล่งที่มาที่รวบรวมงานต้นแบบงานวิจัยในการสร้างแรงบันดาลใจต่างๆ และ การฝึกฝนใน ระดับปรมาจารย์ที่เกี่ยวกับเทคนิคใหม่ๆที่ทันสมัยที่ทำหน้าที่เป็นการเฉลิมฉลองของอัจฉริยะนวัตกรรมและ รูปแบบการทำงานสำหรับนักประดิษฐ์อักษรของความสามารถทั้งหมด

งานวิจิตรศิลป์แบบแอปสแตรก ปี 1970
เขียนได้อย่างอิสระด้วยขนนกห่านในสีน้ำสีดำงานนี้ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้งานวิจัยนี้ได้ในแง่ที่ว่ามันหมายถึงจุดแตกหักและจุดเริ่มต้นที่เป็นไปได้สำหรับอนาคตของการประดิษฐ์ตัวอักษรอันที่จริงนี้เป็นหนึ่งในครั้งแรกที่เราเห็นอย่างสมบูรณ์การประดิษฐ์ตัวอักษรที่เป็นนามธรรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น