วันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2559

ขั้นตอนการแปลสภาพจากฟอนต์ลายมือของตัวเอง โดยการแปลไฟล์ภาพให้เป็นไฟล์เวคเตอร์



ขั้นตอนการแปลสภาพจากฟอนต์ลายมือของตัวเอง โดยการแปลไฟล์ภาพให้เป็นไฟล์เวคเตอร์
ในการที่จะทำให้ตัวอักษรลายมือ มีขั้นตอนการเตรียมการจากไฟล์ภาพลายมือ ที่เก็บตัวอย่างมามีขั้นตอนดังนี้ คือ

Screen Shot 2016-01-23 at 12.46.24 AM.png
ขั้นตอนที่1 ใช้แบบฟอร์ม เขียนรูปแบบตารางรูปอักษร (Glyph Table) ด้วยปากกาสีดำตามขนาดความสูงที่กำหนดให้ในรูปแบบ แสกนเป็นขาวดำที่มีความละเอียด 300dpj.
ขั้นตอนที่2 คลิกที่รูปและกด Image Trace ---> 3 Colors ---> Ok  
ขั้นตอนที่3 จากนั้นกด Expand
ขั้นตอนที่4 จะได้จุดสีฟ้ามาเต็มหน้ากระดาษ ต่อไปคลิกขวาและกด Ungroup
ขั้นตอนที่5 จากนั้นกด Rectangle Tool (หรือ เครื่องมือที่ใช้สร้างกรอบสี่เหลี่ยม)
ขั้นตอนที่6 จากนั้นขยายสี่เหลี่ยมให้ทับรูปแสกน
ขั้นตอนที่7 เปลี่ยนสีสี่เหลี่ยมให้โดดเด่นขึ้น จากนั้นคลิกขวา กด Arrange ---> Send to Back เพื่อให้สี่เหลี่ยมไปอยู่ด้านหลังสุด
ขั้นตอนที่8 กด Object ---> Lock ---> Selection เพื่อทำการ Lock ให้สี่เหลี่ยมอยู่กับที่
ขั้นตอนที่9 จากนั้นทำการลบส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องที่ไม่ใช่ฟ้อนลายมือของตัวเองออกให้หมด โดยการคลิดส่วนที่ไม่ต้องการ แล้วกด Delete
ขั้นตอนที่10 ลบส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องออกแล้วจะเป็นแบบนี้ ต่อไปก็ทำการจัดวางให้ได้สัดส่วนที่เท่ากันและเป็นระเบียบเรียบร้อย
ขั้นตอนที่11 เริ่มจากการกด (Command+R) หรือ (Ctrl+R) เพื่อเป็นการเพิ่มเส้นขอบไม้บรรทัด และกด Viwe ---> Show Grid เพื่อเป็นการเพิ่มเส้นสเกล ให้สามารถทำงานได้อย่างแม่นยำและทำให้ได้สัดส่วนที่เท่ากันอย่างชัดเจน
ขั้นตอนที่12 จากนั้นจะได้เส้นสเกลเป็น background จากนั้นตีเส้นช่องแบ่งวรรคและระยะห่า ข้าง ล่าง บน ให้สมส่วน
ขั้นตอนที่13 จัดวางตัวอักษรตามช่องที่แบ่งไว้ ต่อมาดัดแปลงตัวอักษรเล็กน้อย และแต่งเติมหัวตัวอักษร
ให้ดูเรียบร้อย เติมส่วนที่ขาดให้เต็ม ที่สำคัญไม่ให้ต่างไปจากเดิมมาก
ขั้นตอนที่14 เมื่อทำครบทุกตัวอักษรแล้ว นำฟอนต์ที่ได้มาจัดเรียงเป็นชื่อเรา เพื่อเป็นตัวอย่างรูปแบบตัวอย่างในการใช้ตัวอัวษร ทั้งภาษาไทย และ อังกฤษ
ขั้นตอนที่15 เมื่อทำครบทุกตัวอักษรแล้วทำการลบพื้นหลังสี่เหลียมสีเหลืองที่เราสร้างไว้ตอนแรกออก และทำการ Save งานเป็นไฟล์ Ai ได้เลย เพียงเท่านี้เป็นอันเสร็จ ทำวิธีนี้ ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ

วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2559


    การบ้านครั้งที่แล้ว...ที่เปลี่ยนจากไฟล์รูปภาพ ให้เป็นไฟล์เวคเตอร์ เสร็จแล้วจ้าา :D 

ไปดูฝีมือเรากันดีกว่าา ^__^"

      

แบบภาษาอังกฤษ



แบบภาษาไทย


สรุปผลการเรียนการสอนสัปดาห์ที่4 วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2559

สรุปผลการเรียนการสอนสัปดาห์ที่4 วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2559


วันนี้อาจาร์ยได้ให้เพื่อนออกไปรายงานข่าวที่ตัวเองเตรียมมา แต่วันนี้เพื่อนมาเรียนกันน้อยกว่าปกติมาก ปกติจะมี34คน แต่วันนี้มี26 บางคนรายชื่อขึ้นแทบแดง บางคนก็ไปดรอปแล้ว ทีนี้ถึงเรา เราก็สู้ต่อสิ 5555 ไม่ยอมหรอกนะจ๊ะ สู้ไม่ถึงตาย สั่งอะไรมาก็ทำไป ห้ามบ่น 55555

 เข้าเรื่องเลยดีกว่า วันนี้อาจาร์ยได้สอนแบบอัดแน่น ได้สอนเน้นๆเกี่ยวกับแป้นพิมพ์ที่เราใช้ๆกันอยู่ในปัจจุบัน 

สรุปผลที่ได้คือ คีย์บอดมีโค้ดที่คนออกแบบได้วางมาฆเอาไว้แล้ว คือ QWERTY ซึ่งไม่เคยรู้หรือสังเกตมาก่อนเลย 

จากนั้นอาจาร์ยได้อธิบายเรื่องงาน Gilt on the moon ให้ฟังว่าควรจะเตรียมตัวยังไงกับงานนี้ ซึ่งผลงานที่เราต้องทำออกมานั้น ต้องมีการใช้ฟอนต์ของเราในงานนั้นๆด้วย ฟอนต์ต้องมีส่วนร่วมได้ผลงานแต่ละชิ้นประมาณ 80% อาจาร์ได้จับกลุ่มโดยการนับเลข1-6 บอกเลยว่า ปุ้บปั้บกระทันหันแบบงงๆมาก5555
และอาจาร์ได้สั่งให้เราไปหาแนวทางในการที่จะผลิตสินค้ามาขาย คนละ5ชิ้นอย่างต่ำ ซึ่งใน1กลุ่มต้องมสินค้าวางขายทั้งหมด30ชิ้น อาจาร์ยได้บอกเว็บไซต์แหล่งข้อมูลมาให้เพื่อเป็นแนวทาง เว็บที่อาจาร์ยให้มาคือ 
                         https://www.pinterest.com/

                                                      https://www.pinterest.com/

ต่อมาอาจาร์ยได้โยงเข้าเรื่องฟอนต์อีกครั้ง ทีนี้ได้สอนให้เรียนรู้เกี่ยวกับโปรแกรมทำฟอนต์ นั่นคือ โปรแปรม Fontlab Studio  บอกเลยว่าแอบบงงอย่างแรง ด้วยเรื่องภาษาและอะไรอีกหลายปัจจัย5555 อาจาร์ยได้ ทำให้ดูว่าการ ดัดแปลงฟอนต์ทำยังไง วิธีทำฟอนต์จาก Adobe lllustrator เอามาวางใส่ใน Fontlab Studio ทำยังไง และอาจาร์ยก็ได้สั่งงานมา (อีกแล้ว5555)

การบ้านที่อาจาร์ยได้มอบหมายให้ทำในสัปดาห์นี้ คือ

-ให้นำฟอนต์ที่เราทำใน Ai ที่เป็นการบ้านในครั้งที่แล้วมาทำและจัดวางในโปรแกรม Fontlab Studio ให้เวลาในการทำงานทั้งหมด 2 สัปดาห์ และให้ดูรายละเอียดในคลิปที่อ.ได้ให้บันทึกไว้ในคาบเรียน

วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2559




แปลสรุปหนังสือเล่มที่1 (The Principles of Typography พื้นฐานการใช้ตัวอักษร)
ผู้แต่ง: จุติพงศ์ ภูสุมาศ.  (2557).  The Principles of Typography พื้นฐานการใช้ตัวอักษร.  นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด.



ความหมายของงานตัวอักษร

             ความหมายของงานอักษรตามนิยามนั้นหมายถึง “สัญลักษณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสารจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง” ส่วนไทโปกราฟี (Typography) จะหมายถึง ตัวพิมพ์ การจัดเรียงการพิมพ์โดยที่จะมีการใช้ศิลปะในการพิมพ์เข้ามา
เกี่ยวข้องด้วย
     ดังนั้นในความหมายของงานอักษรตามหนังสือคือการใช้ศิลปะในการจัดเรียงตัวอักษรให้มีความสวยงาม น่าสนใจและยังคงมีความหมายที่ต้องการจะสื่ออย่างครบถ้วน


วิวัฒนาการของตัวอักษร
             จุดเริ่มต้นของงานอักษรมีมาแต่โบราณ เริ่มตั้งแต่การคิดค้นตัวอักษรภาพของชาวอียิปต์โบราณ ที่มีชื่อเรียกว่า อักษรไฮโรกลิฟฟิก (Hieroglyphy) ลักษณะเด่งของตัวอักษรในยุคนั้นคือ การใช้ภาพหรือสัญลักษณ์แทนความหมายต่างๆซึ่งผู้เขียนและผู้อ่านต้องจดจำตัวอักษรแต่ละรูปแบบ จึงเกิดปัญหาเมื่อมีจำนวนคำเพิ่มมากขึ้นเพราะจำนวนตัวอักษรก็ต้องเพิ่มขึ้นตาม
จำนวนคำไปด้วย เพื่อแก้ไขปัญหา เลยเกิดการผสมสัญลักษณ์เพื่อสร้างคำใหม่ขึ้นมา เช่น รูปสามเหลี่ยมคว่ำมีขีดด้านบน หมายถึง วัว (สามเหลี่ยมเป็นโครงหน้าวัวขีดด้านบนหมายถึง เขาวัว)  
ส่วนเส้นซิกแซ็กไปมา หมายถึง ภูเขา
เมื่อนำมารวมกันจะได้ความหมายใหม่ว่าวัวป่านั่นเอง
สำหรับวิวัฒนาการของตัวอักษรไทยมีจุดเริ่มต้นที่เป็นหลัก
ฐานชัดเจนคือ หลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหา-
ราช ที่ทรงประดิษฐ์ลายสือไทย พ.ศ. 1826 และมีการพัฒนาตามกาลเวลา จนปรากฏเป็นตัวอักษรไทยในปัจจุบัน
ฟอนต์คืออะไร
            จุดกำเนิดของฟอนต์นั้นเริ่มมาจากสิ่งสำคัญที่เรียกว่า ตัวอักษร
เป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณและถือว่าเป็นเอกลักษณ์ประการหนึ่งของชาติที่ควรจะรักษา
ไว้ โดยแต่ก่อนนั้นการผลิตสื่อที่ต้องมีการเรียงกันของกลุ่มตัวอักษร เช่น หนังสือ หรือใบประกาศต้องอาศัยแรงงานคนในการเขียน ส่งผลให้ตัวอักษรตัวเดียวกันแต่คนละ
คนเขียน หรือแม้แต่เป็นคนเดิมเขียนก็ตาม มักจะให้ลักษณะของตัวอักษรที่แตกต่างกัน ทำให้มาตราฐานที่ได้ไม่เท่ากัน ด้วยเหตุที่ต้องการสร้างมาตราฐานนี้เอง
ฟอนต์จึงถูกสร้างขึ้นและได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาจนเราสามารถนำมาใช้กันได้อย่างง่ายดาย ด้วยการเคาะแป้นพิมพ์บนคัย์บอร์ดนี่เอง
หากสรุปนิยามของฟอนต์อย่างกระชับที่สุด สามารถกล่าวได้ว่า ฟอนต์คือ กลุ่มของตัวอักษรที่พิมพ์ได้ หรือแสดงผลได้ตามแบบที่กำหนดและขนาดที่ต้องการนั่นเอง

มูลค่าและลิขสิทธิ์ของฟอนต์
           มูลค่าและลิขสิทธิ์ของฟอนต์เป็นเรื่องมีประเด็นปัญหาระหว่างผู้ใช้ฟอนต์กับผู้สร้างสรรค์ฟอนต์มากที่สุด เพราะความเข้าใจผิดๆหลายอย่าง ทำให้ผู้หลงใช้ฟอนต์แบบผิดลิขสิทธิ์โดยที่บางครั้งอาจไม่
ได้ตั้งใจ หลายคนมีความเข้าใจว่า ตัวอักษรเป็นสมบัติของชาติที่คนไทยทุกคนล้วนเป็นเจ้าของ ดังนั้น ฟอนต์จึงเป็นสมบัติของชาติที่ทุกคนล้วนเป็นเจ้าของเช่นเดียวกัน สามารถนำมาใช้ได้โดยไม่ผิดลิขสิทธิ์ความเข้าใจนี้ถูกต้องเฉพาะในส่วนที่ว่าตัวอักษรไทยเป็นสมบัติของชาติที่ทุกคนล้วนเป็นเจ้าของ แต่ฟอนต์ไม่ใช่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงอย่าเดียวยังประกอบไปด้วยการออกแบบ ลักษณะ การเว้นระยะ และชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ต่างๆมากมาย เพื่อให้ฟอนต์ที่ออกมา
สามารถนำมาใช้งานได้และสวยงาม ซึ่งขั้นตอนต่างๆเหล่านี้ต้องอาศัยเวลา รวมทั้งความสามารถของผู้สร้างสรรค์เป็นอย่างมาก ดังนั้น ฟอนต์จึงเป็นสิ่งมีลิขสิทธิ์ และเราควรตระหนักถึงความสำคัญของลิขสิทธิ์เหล่านี้ เพื่อให้ผู้สร้างสรรค์มีกำลังใจและทุนทรัพย์ในการพัฒนาฟอนต์ใหม่ๆต่อไป

วันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2559

สรุปผลการเรียนการสอนสัปดาห์ที่3 วันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2559


สรุปผลการเรียนการสอนสัปดาห์ที่3 วันอังคารที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2559

     วันนี้อาจาร์ยได้ให้ออกไปหน้าห้องเพื่ออ่านข่าวที่ตัวเองได้เตรียมไว้ บอกเลยว่าตื่นเต้นมาก 5555 เพราะว่าเป็นคนแรก ที่จริงต้องเป็นคนที่2 เพราะเลขที่2 แต่พอดีตอนอาจาร์ยเรียกชื่อคนแรกออกไปอ่าน คนแรกกลับไปเข้าห้องน้ำ 5555 ทีนี้ก็เลยกลายเป็นเรา สรุปพอได้อ่านจบ ก็โดนเอ็ดไปชุดใหญ่ เพราะทำอะไรผิด พูดและแสดงเนื้อหาไม่ครบที่อาจาร์ยจะให้นำเสนอ 
    ต่อมาอาจาร์ยได้อธิบายถึงเวลาการ จัดค่าหน้ากระดาษเวลาพิมพ์บล๊อกหรือพิมพ์รายงาน ให้ตั้งเป็น 
บน = 3.81
ล่าง = 2.54
ซ้าย = 3.81
ขวา = 2.54
    และได้สอนวิธีการเพิ่มผู้ดูแลบล๊อกเพิ่ม จากนั้นได้บอกและแสดงตัวอย่างวิธีการทำ ไฟล์ภาพที่เราได้แสกนตัวอักษรไว้ ให้แปลเป็นไฟล์เวกเตอร์ โดยทำในโปรแกรม Adobe lllustrator วิธีที่อาจาร์ยได้สอบคือการดัดแปลง ให้เส้นคมชัดและดูสมส่วนขึ้น

      การบ้านที่อาจาร์ยได้มอบหมายให้ทำในสัปดาห์นี้ คือ
1.ให้นำภาพที่เราแสกนไว้เป็นไฟล์ภาพให้นำไปแปลงเป็นไฟล์เวคเตอร์ โดยใช้โปรแกรม Adobe lllustrator ในการทำงาน จากนั้นเซฟงานเป็นไฟล์ Ai และส่งในไดร์ Foder ที่อาจาร์ยสร้างไว้
2. ให้แสดงวิธีการทำทุกขั้นตอน โดยบันทึกลงในไดร์ และนำไปส่งใน google classroom ที่อาจาร์สร้าง Foder ไว้ให้


วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559

วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2559


แปลสรุปบทความ

เรื่องที่ 1 : Scrapbooker 
Scrapbooker





ผู้ออกแบบ : Carolina Marando, Alejandro Paul

จาก : http://www.myfonts.com/fonts/sudtipos/scrapbooker/

ออกแบบเมื่อ : 2016

ผู้เผยแพร่ : FaceType

เผยแพร่ให้ใช้เมื่อ : 8 มกราคม 2016

ได้รับรางวัลฟ้อนต์ใหม่สุดHotในอันดับที่ 19 (ในเดือน มกราคม 2016)

แปลสรุปโดย นางสาวณัฐณาวี  สุขอิ่ม

รหัสนักศึกษา 5711306877 กลุ่มเรียน 101

Gmail : nutnawees@gmail.com

Publish Blog : http://artd2304-nutnawee.blogspot.com/

รายงานวิชา ARTD2304 การออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์










About this font family

       After previously collaborating on the bestselling Distillery Set, Carolina Marando and Alejandro got together once again to create this Scrapbooker Set, a new series of fonts that multiply the possibilities.

      One reason scrapbookers became a kind of design demographic is the appeal of what they do. They make albums of memories, diaries composed of different elements that converge together to lead the viewer to a special moment in time. A paper, a photo, a letter, an event ticket, or a dry petal everything ends up being part of a collage that tells a story.


      Words have a key role in such a collage. They use different shapes and forms and combinations to state what cannot otherwise be expressed. They make the collage stronger by clarifying a concept, defining an image, and solidifying a memory. These words for memory albums are the reason for this Scrapbooker Set, six different fonts with different impressions and different personalities so each part of the memory can have its own identity. People tell you to write your own history. Now you can do that in style.


แปลโดยตรงจาก (google translate)

     เกี่ยวกับครอบครัวของตัวอักษรนี้
          หลังจากก่อนหน้านี้ ร่วมมือกันในน้ำชุดขายดี Carolina marando อะเลฮันโดรมารวมตัวกันอีกครั้งเพื่อสร้างชุด scrapbooker นี้ชุดใหม่ของแบบอักษรที่คูณความเป็นไปได้
เหตุผลหนึ่งที่ scrapbookers กลายเป็นชนิดของการออกแบบส่วนบุคคลคือการอุทธรณ์ของสิ่งที่พวกเขาทำ พวกเขาทำอัลบั้มแห่งความทรงจำ บันทึกประกอบด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ที่บรรจบกันนำตัวแสดงเพื่อช่วงเวลาพิเศษในเวลา กระดาษ , ภาพ , ตัวอักษร , เหตุการณ์ตั๋ว หรือแห้งกลีบทุกอย่างสิ้นสุดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของเรขาคณิตที่บอกเล่าเรื่องราว

คำพูดก็สำคัญเช่นในวิทยาลัย พวกเขาใช้รูปร่างที่แตกต่างกันและรูปแบบและชุดค่าผสมที่ระบุว่าไม่สามารถเป็นอย่างอื่นจะแสดง พวกเขาทำให้ภาพตัดปะที่แข็งแกร่งโดยชี้แจงแนวคิดการกำหนดรูปภาพและความทรงจำที่แข็งตัว . คำเหล่านี้สำหรับอัลบั้มความทรงจำคือเหตุตั้ง scrapbooker นี้หกที่แตกต่างกันแบบอักษรที่มีการแสดงผลแตกต่างกันและบุคลิกที่แตกต่างกันเพื่อให้แต่ละส่วนของความมีเอกลักษณ์ของตัวเอง คนที่บอกคุณให้เขียนประวัติของตัวเอง ตอนนี้คุณสามารถทำมันในสไตล์



 เรียบเรียงเนื้อหาใหม่

   เกี่ยวกับครอบครัวของฟ้อนต์นี้
          หลังจากก่อนหน้านี้ แคโลไรนา มาเรนโด และ แอลโรเจนโดว ได้ทำงานร่วมกันในโรงกลั่นน้ำมันที่ขายดีที่สุด และต่อมาเขาทั้ง2คนได้กลับมารวมตัวกันอีกครั้งหนึ่งในการสร้างชุดอักษรชุดนี้ ที่มีชื่อว่า "scrapbooker" เป็นชุดแบบอักษรใหม่

      เหตุผลหนึ่งที่ทำให้ scrapbookers กลายเป็นชนิดของการออกแบบและเป็นที่ดึงดูดความสนใจของผู้เข้าชม 

สิ่งที่พวกเขาทำ พวกเขาทำให้อัลบั้มแห่งความทรงจำในไดอารี่ที่ประกอบด้วยองค์ประกอบที่แตกต่างกันแต่มาบรรจบกันเพื่อนำไปสู่​​ผู้ชมที่จะเป็นช่วงเวลาที่แสนพิเศษ เขาได้นำ กระดาษ,รูปภาพ,จดหมาย,ตั๋วเหตุการณ์ต่างๆ หรือกลีบไม้แห้งๆ และทุกอย่างจบลงด้วยการเป็นส่วนหนึ่งของภาพตัดแปะที่บอกเล่าเรื่องราวได้


      คำที่มีบทบาทสำคัญใน "scrapbooker" คือ การจับแพะชนแกะ พวกเขาได้ใช้รูปร่าง รูปแบบ และการรวมกันที่แตกต่างกัน พวกเขาทำให้ภาพตัดแปะแข็งแกร่งโดยการทำความเข้าใจกับแนวคิด การกำหนดภาพและความแข็งตัวของหน่วยความจำ 

       สำหรับอัลบั้มหน่วยความทรงจำ เหตุผลนี้ชุด "scrapbooker" ในหกแบบอักษรจึงมีความแตกต่างกัน มีการแสดงผลที่แตกต่างกันและมีเอกลักษณ์ที่เป็นของตัวเอง

แปลสรุปบทความ


Font


      A font is a set of printable or displayable text characters in a specific style and size. The type design for a set of fonts is the typeface and variations of this design form the typeface family. Thus, Helvetica is a typeface family, Helvetica italic is a typeface, and Helvetica italic 10-point is a font. In practice, font and typeface are often used without much precision, sometimes interchangeably.

      A bitmap font is a digital representation of a font that is already fixed in size or a limited set of sizes. The two most popular outline font software programs on today's computers are TrueType and Adobe Type1.TrueType fonts come with both Windows and Macintosh operating systems. However, Type1 is a standard outline font (ISO 9541). Both TrueType and Type 1 fonts can be used by Adobe's PostScript printers (although Adobe says that Type1 fonts makes fuller use of the PostScript language).

    Independent developers and graphic designers create new typefaces for both TrueType and Type1 Adobe states that there are over 30,000 Type1 fonts available. Fonts (in addition to those that come with your computer) can be purchased as individual typeface families or in typeface collections.

อักษรเป็นชุดของตัวอักษรที่พิมพ์หรือแสดงผลในรูปแบบที่เฉพาะเจาะจงและขนาด ประเภทการออกแบบสำหรับชุดของตัวอักษรเป็นรูปแบบของการออกแบบ ในรูปแบบครอบครัวแบบอักษร 
ดังนั้น Helvetica จึงเป็นครอบครัวแบบอักษรตัวเอียง Helvetica เป็นอักษรตัวเอียง 10 จุด และเป็นตัวอักษรในทางปฏิบัติ ตัวอักษรมักจะใช้โดยไม่ต้องมีความแม่นยำมากบางครั้งก็สลับกัน

อักษรบิตแมพจะเป็นตัวแทนดิจิตอลของตัวอักษรที่ได้รับการแก้ไขแล้วในขนาดหรือชุดจำกัดของขนาด  ทั้งสองตัวอักษรนิยมมากที่สุดในโปรแกรมซอฟแวร์ ของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมี TrueType และ Adobe ประเภท1 แบบอักษร TrueType มาพร้อมกับทั้ง Windows และ Macintosh ระบบปฏิบัติการ แต่ชนิดที่1 เป็นตัวอักษรร่างมาตรฐาน (ISO 9541) อักษรทั้งสอง TrueType และแบบอักษรชนิดที่1 สามารถใช้เครื่องพิมพ์ของ Adobe PostScript (แม้ว่า Adobe จะกล่าวว่าชนิดที่1 แบบอักษรที่ทำให้การใช้งานฟูลเลอร์ของภาษา PostScript) 
นักพัฒนาอิสระและนักออกแบบกราฟิกสร้างรูปแบบอักษรใหม่สำหรับทั้ง TrueType และแบบที่1 Adobe ระบุว่ามีมากกว่า 30,000 ชนิดที่ 1 แบบอักษรที่มี แบบอักษร (นอกเหนือจากผู้ที่มาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ของคุณ) สามารถซื้อเป็นตระกูลแบบอักษรของแต่ละบุคคลหรือในคอลเลกชั่นแบบอักษร


แหล่งอ้างอิงจาก : http://whatis.techtarget.com/definition/font
ผู้เผยแพร่ : Margaret Rouse
                          __________________________________________________


Typography 


Typography is the art and technique of arranging type to make written language legible, readable, and appealing when displayed. The arrangement of type involves selecting typefaces, point size, line length, line-spacing (leading), letter-spacing (tracking), and adjusting the space within letters pairs (kerning). The term typography is also applied to the style, arrangement, and appearance of the letters, numbers, and symbols created by the process. Type design is a closely related craft, sometimes considered part of typography; most typographers do not design typefaces, and some type designers do not consider themselves typographers. Typography also may be used as a decorative device, unrelated to communication of information.

Typography is the work of typesetters, compositors, typographers, graphic designers, art directors, manga artists, comic book artists, graffiti artists, and now anyone who arranges words, letters, numbers, and symbols for publication, display, or distributio from clerical workers and newsletter writers to anyone self-publishing materials. Until the Digital Age, typography was a specialized occupation. Digitization opened up typography to new generations of previously unrelated designers and lay users, and David Jury, head of graphic design at Colchester Institute in England, states that "typography is now something everybody does." As the capability to create typography has become ubiquitous, the application of principles and best practices developed over generations of skilled workers and professionals has diminished. So at a time when scientific techniques can support the proven traditions (e.g. greater legibility with the use of serifs, upper and lower case, contrast, etc.) through understanding the limitations of human vision, typography often encountered may fail to achieve its principal objective, effective communication.


การพิมพ์เป็นศิลปะและเทคนิคของการจัดประเภท เพื่อให้กลายเป็นลายลักษณ์อักษร ภาษาชัดเจน อ่านและน่าสนใจ การจัดประเภทที่เกี่ยวข้องกับการเลือกรูปแบบอักษรขนาด จุด ความยาว ระยะห่างตัวอักษร และการปรับพื้นที่ภายในคู่ตัวอักษร (การจัดช่องไฟ) 

ในการพิมพ์คำที่ยังใช้รูปแบบการจัดเรียงและลักษณะของตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่สร้างขึ้นโดยกระบวนการการออกแบบที่เป็นงานฝีมือที่เกี่ยวข้องบางครั้งก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการพิมพ์ typographers ส่วนใหญ่ไม่ได้ออกแบบในรูปแบบอักษรและบางประเภทนักออกแบบไม่ได้คิดว่าตัวเอง typographers การพิมพ์ก็อาจจะใช้เป็นอุปกรณ์ตกแต่งที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารข้อมูล

การพิมพ์เป็นผลงานของ typesetters ที่ compositors, typographers จัดคำตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์สำหรับการตีพิมพ์, การแสดง, หรือการกระจาย จากเสมียนพนักงานและนักเขียนจดหมายให้กับทุกคนเผยแพร่ด้วยตนเอง จนกระทั่งยุคดิจิตอลการพิมพ์เป็นอาชีพเฉพาะ ได้เปิดตัวอักษรเพื่อให้คนรุ่นใหม่ในขณะที่ความสามารถในการสร้างตัวอักษรได้ กลายเป็นที่แพร่หลาย, การประยุกต์ใช้หลักการและวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดจนได้รับการพัฒนามาหลายชั่วอายุ



แหล่งอ้างอิงจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Typography
ผู้เผยแพร่ : Wikipedia contributors
__________________________________________________

Typeface


In typography, a typeface (also known as font family) is a set of one or more fonts each composed of glyphs that share common design features. Each font of a typeface has a specific weight, style, condensation, width, slant, italicization, ornamentation, and designer or foundry (and formerly size, in metal fonts). For example, "ITC Garamond Bold Condensed Italic" means the bold, condensed-width, italic version of ITC Garamond. It is a different font from "ITC Garamond Condensed Italic" and "ITC Garamond Bold Condensed," but all are fonts within the same typeface, "ITC Garamond." ITC Garamond is a different typeface from "Adobe Garamond" or "Monotype Garamond." (These are all alternative updates or digitization of the typeface Garamond, originally created in the 16th century.) There are thousands of different typefaces in existence, with new ones being developed constantly.

The art and craft of designing typefaces is called type design. Designers of typefaces are called type designers and are often employed by type foundries. In digital typography, type designers are sometimes also called font developers or font designers.

Every typeface is a collection of glyphs, each of which represents an individual letter, number, punctuation mark, or other symbol. The same glyph may be used for characters from different scripts, e.g. Roman uppercase A looks the same as Cyrillic uppercase А and Greek uppercase alpha. There are typefaces tailored for special applications, such as map-making or astrology and mathematics.

The term typeface is frequently confused with the term font. Before the advent of digital typography and desktop publishing, the two terms had more clearly understood meanings.


ในการพิมพ์เป็นตัวอักษร (หรือเรียกว่าครอบครัวตัวอักษร) เป็นชุดหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งแบบอักษร ประกอบคุณสมบัติการออกแบบร่วมกัน ตัวอักษรแต่ละตัวมีน้ำหนักเฉพาะลักษณะการรวม ตัวกว้าง, ตัวเอียง, การตกแต่งและออกแบบ (และขนาดเดิมในแบบอักษรโลหะ) ยกตัวอย่างเช่น "ITC Garamond ตัวหนาตัวเอียงย่อ" หมายความว่าตัวหนากว้างรุ่นเอียงของ ITC Garamond มันเป็นตัวอักษรที่แตกต่างจาก "ITC Garamond ย่อตัวเอียง" และ "ITC Garamond หนาย่อ" แต่ทั้งหมดเป็นแบบอักษรภายในอักษรเดียวกัน "ITC Garamond." ITC Garamond เป็นแบบอักษรที่แตกต่างจาก "Adobe Garamond" หรือ "Monotype Garamond." (ทั้งหมดนี้คือการปรับปรุงทางเลือกหรือแปลงของอักษร Garamond, สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 16 มีหลายพันรูปแบบอักษรที่แตกต่างกันในการดำรงอยู่และได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากคนใหม่ ศิลปะและงานฝีมือของรูปแบบอักษร นักออกแบบของรูปแบบอักษรที่จะถูกเรียกว่านักออกแบบชนิดมีการจ้างงาน และในการพิมพ์ดิจิตอลออกแบบประเภทนี้มักจะเรียกว่า นักพัฒนานักออกแบบตัวอักษร

อักษรทุกชุดซึ่งหมายถึงตัวอักษรแต่ละหมายเลข เครื่องหมายวรรคตอนหรือสัญลักษณ์อื่นๆ หรือสัญลักษณ์เดียวกันอาจจะใช้ตัวละครจากสคริปต์ที่แตกต่างกันเช่น โรมันพิมพ์ใหญ่มีลักษณะเช่นเดียวกับซีริลลิАตัวพิมพ์ใหญ่และตัวอักษรพิมพ์ใหญ่กรีก มีรูปแบบอักษรที่เหมาะสำหรับการใช้งานพิเศษเช่นแผนที่ทำหรือโหราศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นต้น



แหล่งอ้างอิงจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Typeface
ผู้เผยแพร่ : Wikipedia contributors
__________________________________________________


Alphabet

An alphabet is a standard set of letters (basic written symbols or graphemes) which is used to write one or more languages based on the general principle that the letters represent phonemes (basic significant sounds) of the spoken language. This is in contrast to other types of writing systems, such as syllabaries (in which each character represents a syllabic) and logographic (in which each character represents a word, morpheme, or semantic unit).

The Phoenician script was the first phonemic script and was the ancestor of modern alphabets, including Arabic, Greek, Latin, Cyrillic and Hebrew.According to terminology introduced by Peter T. Daniels, an "alphabet" in the narrow sense is one that represents both vowels and consonants as letters equally. The first "true alphabet" in this sense was the Greek alphabet,which was developed on the basis of the earlier Phoenician alphabet. In other alphabetic scripts, such as the original Phoenician, Hebrew or Arabic, letters predominantly or exclusively represent only consonants; such a script is also called an abjad. A third type, called abugida or alphasyllabary, is one where vowels are shown by diacritics or modifications of consonantal base letters, as in Devanagari and other South Asian scripts.

There are dozens of alphabets in use today, the most popular being the Latin alphabet (which was derived from the Greek). Many languages use modified forms of the Latin alphabet, with additional letters formed using diacritical marks. While most alphabets have letters composed of lines (linear writing), there are also exceptions such as the alphabets used in Braille, fingerspelling, and Morse code.

Alphabets are usually associated with a standard ordering of letters. This makes them useful for purposes of collation, specifically by allowing words to be sorted in alphabetical order. It also means that their letters can be used as an alternative method of "numbering" ordered items, in such contexts as numbered lists.


           ชุดมาตรฐานของตัวอักษร ที่ใช้ในการเขียนภาษาหรือมากกว่านั้น ขึ้นอยู่กับหลักการทั่วไปที่ตัวอักษรสามารถแทนหน่วยเสียง คือ (เสียงอย่างมีนัยสำคัญบนพื้นฐาน) ของภาษาพูด 
   เป็นในทางตรงกันข้ามกับชนิดอื่นๆ ของระบบการเขียนเช่น syllabaries (ซึ่งแสดงให้เห็นถึงตัวละครแต่ละตัวพยางค์) และ logographic (ซึ่งในตัวละครแต่ละตัวแสดงให้เห็นถึงคำ หรือ หน่วยความหมาย)

สคริปต์เซียนเป็นสคริปต์สัทศาสตร์เป็นครั้งแรก และเป็นบรรพบุรุษของตัวอักษรที่ทันสมัย​​รวมทั้งภาษาอาหรับ ภาษากรีก ภาษาละติน และศัพท์นำโดย ปีเตอร์ตันแดเนียลส์ ที่เป็น "ตัวอักษร" ในความหมายแคบๆ และเป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นทั้ง สระและพยัญชนะเป็นตัวอักษรอย่างเท่าเทียมกัน ครั้งแรกที่ "ตัวอักษรที่แท้จริง" ในความหมายนี้เป็นอักษรกรีกซึ่งได้รับการพัฒนาบนพื้นฐานของตัวอักษรเซียนก่อนหน้านี้ ในสคริปต์ตามตัวอักษรอื่น ๆ เช่นเดิมเซียน, ฮิบรูหรือภาษาอาหรับส่วนใหญ่หรือตัวอักษรเฉพาะตัวแทนของพยัญชนะเท่านั้น เช่นสคริปต์ที่เรียกว่ายังเป็นอักษรตระกูลเซมิติก และชนิดที่สามที่เรียกว่าอาบูหรือ alphasyllabary เป็นหนึ่งที่ ที่จะแสดงโดยกำกับหรือปรับเปลี่ยนตัวอักษรและพยัญชนะในฐานเช่นเดียวกับในเทวนาครีสคริปต์และเอเชียใต้  และมีหลายสิบตัวอักษรที่ใช้ในปัจจุบันเป็นที่นิยมมากที่สุดที่ตัวอักษรละติน (ซึ่งได้มาจากภาษากรีก) 
หลายภาษาใช้การปรับเปลี่ยนรูปแบบของตัวอักษรละตินที่มีตัวอักษรเพิ่มเติมเกิดขึ้น โดยใช้การออกเสียงวรรณยุกต์ ในขณะที่ส่วนใหญ่จะมีตัวอักษรประกอบด้วยการ (เขียนเชิงเส้น) นอกจากนี้ยังมีข้อยกเว้นด้วย เช่นตัวอักษรที่ใช้ในอักษรเบรลล์ fingerspelling และรหัสมอร์ส และตัวอักษรที่มักจะเกี่ยวข้องกับมาตรฐานของตัวอักษรนี้จะทำให้พวกเขามีประโยชน์สำหรับวัตถุประสงค์ของการตรวจทานโดยเฉพาะ โดยใช้ให้คำจัดเรียงตามลำดับตัวอักษร


แหล่งอ้างอิงจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Alphabet
ผู้เผยแพร่ : Wikipedia contributors
__________________________________________________

Character Design


A character (or fictional character) is a person in a narrative work of art (such as a novel, play, television series or film).Derived from the ancient Greek word χαρακτήρ, the English word dates from the Restoration,although it became widely used after its appearance in Tom Jones in 1749. From this, the sense of "a part played by an actor" developed. Character, particularly when enacted by an actor in the theatre or cinema, involves "the illusion of being a human person." In literature, characters guide readers through their stories, helping them to understand plots and ponder themes. Since the end of the 18th century, the phrase "in character" has been used to describe an effective impersonation by an actor. Since the 19th century, the art of creating characters, as practiced by actors or writers, has been called characterization.


    ตัวละคร (หรือตัวละครสมมติ) เป็นบุคคลที่อยู่ในการทำงานของศิลปะการเล่าเรื่อง (เช่นนวนิยาย,ทีวี,ซีรีส์ หรือภาพยนตร์) ในวรรณคดีจะมีตัวละครที่เป็นแนวทางในการอ่านผ่านเรื่องราวมากมาย ซึ่งช่วยให้พวกเขาเข้าใจและไตร่ตรองแปลงรูปแบบต่างๆออกมา และการศึกษาตัวละครที่ต้องมีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับทุกตัวละครอื่นๆในสถานะของแต่ละบุคคล และตัวละครจะถูกกำหนดผ่านเครือข่ายตรงกันข้ามกัน คือ (proairetic ในทางปฏิบัติภาษา proxemic) ที่มีรูปแบบตัวละครอื่นๆ และมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครโดยเริ่มต้นจากการกระทำของเรื่องในอดีตมักจะล้อเลียนการเปลี่ยนแปลงในสังคมและความคิดเกี่ยวกับความแตกต่างของมนุษย์



แหล่งอ้างอิงจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Character_(arts)
ผู้เผยแพร่ : Wikipedia contributors


วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559


สรุปผลการเรียนการสอนสัปดาห์ที่2 วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559

วันนี้อาจาร์ยได้ให้สอบวัดผลก่อนเรียน เพื่อวัดการประเมินทักษะและความรู้ของนักศึกษาแต่ละคน ว่ามีพื้นฐานเท่าไหร่ อาจาร์ยนัดสอบ 13.30 น. แต่พอถึงเวลาก็ยังไม่ได้สอบ เพราะอาจาร์ยได้สอนและอธิบายเรื่องการสมัครเข้ากลุ่มเพื่อการเข้าสอบ และได้บอกรายละเอียดถึงเรื่องสอบในแต่ละครั้ง จากนั้นอาจารย์ได้เปิดบล๊อกของอาจาร์เอง และอธิบายว่าวิธีจัดแต่งบล๊อกที่จะได้คะแนนดีๆต้องทำอย่างไร ซึ้งอาจาร์ได้ใช้บล๊อกของอาจาร์เองเป็นแนวทางและตัวอย่างให้เรา และต่อมาอาจาร์ได้เปิดผลการประเมินที่ให้ นศ. ประเมินไว้ให้ดูว่า เกณฑ์แต่ละช่องได้เปอร์เซ็นมากน้อยจากนศ.เท่าไหร่

      และพอถึงเวลาสอบ บอกเลยว่าตื่นเต้นเพราะกลัวทำไม่ได้5555 อาจาร์ยกำหนดเวลาให้ 20 นาที ข้อสอบมีทั้งหมด 6 ข้อ แต่ข้อที่6จะมีย่อยอีกเยอะมาก บอกเลยว่าข้อที่6 เอาซ้ะทำอะไรไม่ถูกเลย5555 แต่ก็ทำเสร็จในเวลาประมาน 18นาที ผลสรุปออกมาได้คะแนน 10/20 คือดีใจมาก5555
     หลังจากสอบทฤษฎีผ่านทางระบบเรียบร้อยแล้ว อ.ก็ให้ทำข้อสอบปฏิบัติต่อเลย โดยอาจาร์ได้อธิบายให้โจทย์มาว่า ให้นศ.ออกแบบ คำว่า"เรารักจันทรเกษม"ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตามลักษณะการออกแบบของTypography ตอนแรกกะว่าจะแสกนเอา แต่ก็กลัวจะไม่ทันเพราะอ.กำหนดเวลาถึง 5โมงเย็น ซึ้งได้เวลาทำประมาน2ชม. หนูคิดไว้แล้วว่ายังไงก็คงทำไม่ทันแน่ๆ เพราะเป็นคนคิดเยอะ ละทำงานออกมาช้า ถ้าไม่ถูกใจก็จะแก้อยู่แบบนั้น สรุปแล้วก็คือทำไม่ทันอยู่ดี ได้มาไม่ครบประโยค รู้สึกเฟลมากๆ แต่ก็เอาเท่าที่ได้ดีกว่าไม่ได้ทำอะไรเลย ผลงานที่ได้จึงออกมาประมาณนี้

สิ่งที่อ. มอบหมายให้ทำคือ
-ให้เขียนฟ้อนต์เป็นลายมือตนเอง ก-ฮ,สัญลักษณ์ A-Z,สัญลักษณ์

  • โดยแบ่งเป็น3ชุด คือชุดละ1ช่วงวัย เช่น

                  -ชุดที่1 เด็กโต   6-11ปี
                  -ชุดที่2 บุคคลที่มีอายุ 12-20ปี  (วัยรุ่น)
                  -ชุดที่3 บุคคลที่มีอายุ  20-60ปี (วัยผู้ใหญ่)
# เราเขียน1ชุด และอีก2ชุดไปหาคนเขียนมา
*เมื่อทำเสร็จแล้วให้นำงานทั้ง3ชุด ไปแสกน ด้วยความละเอียด 300.dpi แล้วแชร์ลง Drive
- แก้ไขตกแต่งและจัดวางบล็อคให้สมบูรณ์
-ให้หาความหมายของคำว่า

  •  font
  •  type
  •  typeface
  •  character
  •  alphabet

          (โดยให้จัดหาข้อมูล,อ้างอิง,แปลบทความ,แล้วจัดพิมพ์ลงในไดฟ์ และสรุปใจความสำคัญโพสลงในบล็อคของตนเอง)
*และเตรียมตัวแปลบทความคนละ3บทความ พร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียน ครั้งละ3คนต่อ1คาบเรียน ซึ่งสัปดาห์ต่อไปคือเราแน่ๆ เพราะเลขที่2 55555 ตื่นเต้นมาก

วันจันทร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2559

Anatomy of a Character

by Ilene Strizver


How do you tell one typeface from another? If you’re trying to distinguish Helvetica from Times Roman, the difference is obvious. In other cases, however – especially between text designs having similar characteristics – the differences can be subtle and difficult for the less–experienced eye to see. One important step in training your eye to notice the details that set one design apart from another is to examine the anatomy of the characters that make up our alphabet.

As in any profession, type designers have a specialized vocabulary to talk about the different parts of letters. It isn’t necessary to commit the entire list to memory, but familiarizing yourself with this terminology will make it easier to communicate about typefaces and their characteristics. It will also help educate your eye to recognize the underlying structure of various designs and the differences among them.

Arm/leg – An upper or lower (horizontal or diagonal) stroke that is attached on one end and free on the other.
Ascender – The part of a lowercase character (b, d, f, h, k, l, t) that extends above the x-height.
Bar – The horizontal stroke in characters such as A, H, R, e, and f.
Bowl – A curved stroke which creates an enclosed space within a character (the space is then called a counter).
Cap Height – The height of capital letters from the baseline to the top of caps, most accurately measured on a character with a flat bottom (E, H, I, etc.).
Counter – The partially or fully enclosed space within a character.
Descender – The part of a character (g, j, p, q, y, and sometimes J) that descends below the baseline.
Ear – The small stroke that projects from the top of the lowercase g.
Link – The stroke that connects the top and bottom part (bowl and loop) of a two–story lowercase g.
Loop – The lower portion of the lowercase g.
Serif – The projections extending off the main strokes of the characters of serif typefaces. Serifs come in two styles: bracketed and unbracketed. Brackets are the supportive curves which connect the serif to the stroke. Unbracketed serifs are attached sharply, and usually at 90 degree angles.
Shoulder – The curved stroke of the h, m, n.
Spine – The main curved stroke of the S.
Spur – A small projection off a main stroke found on many capital Gs.
Stem – A straight vertical stroke (or the main straight diagonal stroke in a letter which has no verticals).
Stress – The direction of thickening in a curved stroke.
Stroke – A straight or curved line.
Swash – A fancy flourish replacing a terminal or serif.
Tail – The descender of a Q or short diagonal stroke of an R.
Terminal – The end of a stroke not terminated with a serif.
X-height – The height of lowercase letters, specifically the lowercase x, not including ascenders and descenders.

อ้างอิงแหล่งข้อมูลจาก : http://www.fonts.com/content/learning/fontology/level-1/type-anatomy/anatomy